อบรมทวิศึกษา รับชมผ่านรายการ ETV. ครั้งที่ 3 (วันที่ 3 มี.ค.59)
เรื่อง ความเชื่อมโยงโลกแห่งการทำงานและโลกการศึกษา
โดย นางสาววัลลภา อยู่ทอง หัวหน้าหน่วยศึกษานิเทศก์ สำนักงานคณะกรรมการอาชีวศึกษา
ท่านได้กล่าวถึงเป้าหมายการอาชีวศึกษา เพื่อผลิตและพัฒนากำลังคนในด้านวิชาชีพระดับฝีมือระดับเทคนิคและระดับเทคโนโลยี รวมทั้งเป็นการยกระดับการศึกษาวิชาชีพให้สูงขึ้นเพื่อให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงาน โดยนำความรู้ในทางทฤษฎีอันเป็นสากลและภูมิปัญญาไทยมาเป็นพัฒนาผู้รับการศึกษาให้มีความรู้ความสามารถในทางปฎิบัติและมีสมรรถนะ จนสามารถนำไปประกอบอาชีพในลักษณะผู้ปฎิบัติหรือผู้ประกอบอาชีพโดยอิสระได้
การพัฒนาศักยภาพกำลังแรงงาน เพื่อพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันผ่าน ระบบอาชีวศึกษาและระบบคุณวุฒิวิชาชีพ
สมรรถนะกำลังคนที่ประเทศต้องการ
แรงงาน มาตรฐานอาชีพ/สมรรถนะ นักศึกษา
มาตรฐานการทำงาน หลักสูตรอาชีวศึกษา
ทำงาน ฝึกประสบการณ์ทักษะวิชาชีพ การเรียนการสอน
ประเมิน ประเมินในสถานประกอบการ/สถาบัน ประเมิน
TVQ ศึกษาเพิ่มเติม ปวช./ปวส./ป.ตรี+TVQ
ประเภทของผู้เรียนอาชีวศึกษา
นักศึกษาปกติ นักศึกษาทวิภาคี นักศึกษาผู้มีงานทำ
จบแล้วเข้าเรียนต่อ เป็นพนักงานของสถานประกอบการ ประสงค์จะเรียนต่อแต่
ประสงค์จะเรียนในระบบชั้นเรียน ประสงค์เรียนแบบทวิภาคี มีเวลาน้อย
มีพื้นฐานใกล้เคียง มีประสบการณ์อาชีพ ทำงานควบคู่เรียน
เรียนเป็นชั้น/กลุ่มตามเงื่อนไข มีพื้นฐานแตกต่าง มีประสบการณ์อาชีพ
หลักสูตร เวลา วิธีการศึกษา เรียนในสถานศึกษา มีพื้นฐานแตกต่าง
และประเมินผล สถานประกอบการ เรียนในสถานศึกษา
เงื่อนไขการจัดขึ้นกับข้อตกลง ที่ทำงานของตน
เงื่อนไขการเรียนขึ้น
กับรายบุคคล
ความเชื่อมโยงระหว่าง
โลกของการทำงาน กับ โลกของการศึกษา
โลกการทำงาน โลกการศึกษา
เงื่อนไขที่อาชีพต้องการ เงื่อนไขในการจัดการเรียนรู้
- สถานที่ทำงาน -เนื้อหาสาระที่สอดคล้องกับผลลัพธ์ของการเรียนรู้
- สภาพที่ทำงาน -การจัดการเรียนรู้
-พื้นฐานการศึกษา -การประเมินทรัพยากร เช่น อาคาร สถานที่ เครื่องมือ
-อายุ อุปกรณ์ บุคลากร
-เพศ -ข้อกำหนดอื่นๆ เช่น ระยะเวลา การจัดการเรียนรู้
-สภาพร่างกาย แหล่งฝึกอาชีพ ค่าใช้จ่ายของผู้เรียน ประสบการณ์
-ลักษณะนิสัย ในอาชีพของผู้สอน
-ฯลฯ
มาตรฐานอาชีพ/มาตรฐานสมรรถนะ คือ ข้อกำหนดหรือเกณฑ์มาตรฐานของสมรรถนะที่คาดหวังว่าบุคลากรจะบรรลุสำหรับอาชีพหนึ่งรวมทั้งความรู้และความเข้าใจ
- มาตรฐานด้านการปฎิบัติงาน
- มาตรฐานด้านผลงาน
สมรรถนะ คือ ความสามารถในการประยุกต์ใช้ความรู้ ความเข้าใจ ทักษะปฎิบัติ และทักษะด้านความคิด ในการปฎิบัติงานให้มีประสิทธิผลตามมาตรฐานที่ต้องการของอาชีพ
หน่วยสมรรถนะ คือ หน่วยมาตรฐานซึ่งประกอบด้วยปริมาณและคุณภาพของงานที่สามารถนำไปใช้เป็นหน่วยนับ หรือวัดสมรรถภาพของผู้ปฎิบัติงานได้ โดยนับเป็น 1 หน่วยสมรรถนะ
การวิเคราะห์มาตรฐานอาชีพ
1. กำหนดความมุ่งหมายหลัก
2. กำหนดบทบาทหลัก
3. กำหนดหน้าที่หลัก
4. กำหนดหน่วยสมรรถนะ
5. กำหนดสมรรถะย่อย
คุณภาพของผู้สำเร็จการศึกษาทุกระดับคุณวุฒิประเภทวิชา และสาขาวิชาต่างๆ จะต้องครอบคลุมอย่างน้อย 3 ด้าน คือ
1. ด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์
2. ด้านสมรรถนะหลักและสมรรถนะทั่วไป
3. ด้านสมรรถนะวิชาชีพ
กรอบคุณวุฒิการศึกษาวิชาชีพ
ปวช.
กรอบโครงสร้างหลักสูตร ทฤษฎี : ปฎิบัติ = 40 : 60
หลักเทคโนโลยี + อาชีพเฉพาะ + วิจัย
- สมรรถนะระดับฝีมือตามสาขาอาชีพ
- คิด วิเคราะห์ แก้ปัญหา วางแผน ดำเนินการ ตรวจสอบ
- บูรณาการความรู้ ระดับผู้ปฎิบัติงาน
- มีคุณธรรม จริยธรรมและกิจนิสัยที่ดี
ปวส.
กรอบโครงสร้างหลักสูตร ทฤษฎี : ปฎิบัติ = 40 : 60
พื้นฐานวิชาชีพ + อาชีพเฉพาะ + วิจัย
- สมรรถนะระดับเทคนิคตามสาขาอาชีพ
- คิด วิเคราะห์ แก้ปัญหา วางแผน จัดการ ตรวจสอบ แนะนำ สอนงาน
- บูรณาการความรู้ ระดับผู้ควบคุมงาน
- มีคุณธรรม จริยธรรม และกิจนิสัยที่ดี
ปริญญาตรี
กรอบโครงสร้างหลักสูตร ทฤษฎี : ปฎิบัติ = 20 : 80
พื้นฐานวิชาชีพ + อาชีพเฉพาะเบ็ดเสร็จ + วิจัยอย่างง่าย
- สมรรถนะระดับเทคโนโลยีตามสาขาอาชีพ
- ออกแบบ จัดการ ตรวจสอบ แนะนำ สอนงาน พัฒนางาน
- บูรณาการความรู้ ระดับนักเทคโนโลยี
- มีคุณธรรม จริยธรรม และกิจนิสัยที่ดี
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น